- นั่งนานๆ แล้วลุกขึ้น จะมีอาการปวดเข่า
- เดินหรือยืนนานๆ แล้วมีอาการปวดเข่า หรือรู้สึกว่าเข่าอ่อนแรง
- ขึ้นลงบันได แล้วมีอาการเสียวหรือปวดเข่า
- ถ้าเป็นมาก จะมีอาการบวมและร้อนรอบๆ เข่า เวลาเดินหรือยืน เข่าจะโก่งผิดรูป
หากเคย อาจเป็นไปได้ว่าคุณมีอาการของ "ข้อเข่าเสื่อม"
ข้อเข่า ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น ยืน เดิน วิ่ง กระโดด โดยจะรับน้ำหนักของร่างกายทั้งหมด รวมทั้งรับแรงกดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆ เข่าตลอดเวลา เมื่อมีการเคลื่อนไหวข้อเข่า ไม่ว่าจะนั่ง ยืน เดิน ก็จะทำให้เกิดการเสียดสีของกระดูกข้อเข่า
ภายในข้อเข่าประกอบด้วยปลายกระดูก 2 ชิ้นประกบกัน ที่ผิวบนของปลายกระดูกทั้ง 2 ชิ้น จะมีกระดูกอ่อนปกคลุม มีผิวเรียบ และมีน้ำไขข้อบรรจุในช่องว่างระหว่างผิวข้อทั้งสอง เมื่ออายุมากขึ้น กระดูกอ่อนนี้จะค่อยๆ สึกกร่อน ทำให้ไม่มีอะไรมาปกป้องการเสียดสีของกระดูกข้อเข่า จึงเกิดอาการปวด ขยับได้ไม่สะดวก หรือทำให้ข้ออักเสบ บวม มีน้ำในข้อเข่า ต้องไปให้แพทย์เจาะเอาน้ำออก
ปัจจัยที่มีผลต่อข้อเข่าเสื่อม ได้แก่
1.อายุ ส่วนใหญ่เป็นในคนอายุ 40 ปีขึ้นไป แต่อายุน้อยกว่านี้ก็พบได้ ถ้าคนนั้นมีน้ำหนักมาก หรือมีประวัติการใช้ข้อเข่ามาก เช่น นักกีฬา เป็นต้น
2.เพศ ส่วนใหญ่เป็นในผู้หญิงสูงอายุ ซึ่งมีน้ำหนักตัวมากเกินไป และมักทำงานโดยต้องงอเข่าอยู่เป็นประจำ
3.น้ำหนัก ส่วนใหญ่เป็นในคนอ้วนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน ซึ่งสามารถคำนวณคร่าวๆ โดยนำความสูงเป็นเซนติเมตร ลบด้วย 100 (ในผู้ชาย) หรือลบด้วย 110 (ในผู้หญิง) เท่ากับน้ำหนักโดยเฉลี่ย
4.การใช้งาน คนที่มีประวัติการใช้งานของข้อเข่ามาก ๆ หรือมีประวัติการบาดเจ็บบริเวณเข่า โดยเฉพาะนักกีฬา เข่าจะเสื่อมได้เร็วกว่าคนทั่วไป
ข้อแนะนำเมื่อมีอาการปวดเข่า
1.ในระยะแรก ควรหยุดพักการใช้ข้อเข่าไว้ก่อน ไม่ควรให้เข่าอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนานๆ อย่าเพิ่งลงน้ำหนักมากในข้างที่ปวด ปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้ใช้เข่าน้อยลง เช่น งดเล่นกีฬา แล้วเปลี่ยนเป็นเดินเร็วหรือขี่จักรยานอยู่กับที่ เป็นต้น
2.อาจใช้ผ้ายืดพันรอบๆ ข้อเข่าให้กระชับ จะช่วยลดการเสียดสีของข้อเข่าได้
3.ประคบด้วยความเย็นหรือความร้อนบริเวณที่ปวดประมาณ 10 - 15 นาที พร้อมกับขยับข้อเข่าเบาๆ อาจใช้ครีมนวดแก้ปวดร่วมด้วย แต่อย่านวดแรงเพราะจะทำให้กล้ามเนื้อฟกช้ำมากขึ้น การประคบร้อนอาจใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน หรือกระเป๋าไฟฟ้า ส่วนการประคบเย็นอาจใช้ผ้าห่อน้ำแข็ง หรือเจลเย็น (cold pack)
4.รับประทานยาบรรเทาอาการปวด เช่น พาราเซตามอล ยาลดการอักเสบ ยาคลายกล้ามเนื้อ
5.การนอนพักผ่อนช่วยลดอาการปวดได้ แต่ต้องไม่มากเกินไป เนื่องจากการนอนนานๆ จะทำให้กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ยได้
6.เมื่ออาการปวดเข่าทุเลาแล้ว ให้เริ่มบริหารข้อเข่าอย่างสม่ำเสมอ ในตอนเช้าและก่อนนอน
7.ถ้าอาการปวดไม่ดีขึ้นใน 2 - 3 วัน หรือมีอาการปวดมากขึ้น ควรปรึกษาศัลยแพทย์กระดูกและข้อ
หลักปฏิบัติสำหรับผู้ที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมหรือป้องกันข้อเข่าเสื่อมเร็วกว่าที่ควร
1.ลดน้ำหนักตัวในกรณีที่อ้วน หรือระวังไม่ให้น้ำหนักตัวมากเกินไป เพื่อให้เข่ารับน้ำหนักน้อยลง เข่าก็จะเสื่อมช้าลงด้วย
2.หลีกเลี่ยงการใช้เข่าในท่าที่มีการกดของกระดูกภายในเข่ามาก ๆ ได้แก่
- หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งในท่าเดียวนานๆ เช่น นั่งซักผ้า ถ้าจำเป็นควรขยับเปลี่ยนท่า หรือเหยียด – งอข้อเข่าบ่อยๆ
- ควรนั่งบนเก้าอี้สูงระดับเข่า ซึ่งเมื่อนั่งห้อยขาแล้ว ฝ่าเท้าจะวางราบกับพื้นพอดี ไม่ควรนั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่งยองๆ หรือนั่งราบบนพื้น เพราะจะทำให้ผิวข้อเข่าเสื่อมเร็วมากขึ้น
- หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได การคลาน การยกของหนัก
- นอนบนเตียงซึ่งมีความสูงระดับเข่า เมื่อนั่งห้อยขาที่ขอบเตียงแล้ว ฝ่าเท้าจะวางราบกับพื้นพอดี ไม่ควรนอนราบบนพื้น เพราะต้องงอเข่าเวลาจะนอนหรือลุกขึ้น ทำให้ผิวข้อเข่าเสียดสีกันมาก
- ห้องน้ำควรมีโถนั่งชักโครก หรือใช้เก้าอี้ที่มีรูตรงกลางวางไว้เหนือคอ น และควรทำที่จับยึดบริเวณด้านข้างโถนั่ง เพื่อช่วยพยุงตัวเวลาลุกนั่ง การนั่งยองๆ เหนือคอ น จะทำให้ผิวข้อเข่าเสียดสีกันมาก และเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงขาถูกกดทับ ทำให้เลือดไปเลี้ยงขาได้ไม่ดี
- การยืน ควรยืนตรง ขากางออกเล็กน้อย ทิ้งน้ำหนักตัวลงบนขาทั้งสองข้างเท่าๆ กัน ไม่ควรยืนเอียงลงน้ำหนักบนขาข้างใดข้างหนึ่ง เพราะจะทำให้เข่าที่รับน้ำหนักมากกว่าเกิดอาการปวดได้
- ควรเดินบนพื้นราบ ไม่ควรเดินบนพื้นที่ไม่เสมอกัน เช่น บันได ทางลาดเอียงที่ชันมาก หรือทางเดินที่ขรุขระ เพราะทำให้น้ำหนักตัวลงไปที่เข่าเพิ่มมากขึ้น และอาจจะหกล้มได้ง่าย
- ควรใส่รองเท้าส้นเตี้ย สูงไม่เกิน 1 นิ้ว หรือแบบไม่มีส้น พื้นรองเท้านุ่มพอสมควร และกระชับพอดี ไม่หลวมหรือคับเกินไป
- ผู้ที่มีอาการปวดมากหรือมีข้อเข่าโก่งผิดรูป ควรใช้ไม้เท้าช่วยในการยืนหรือเดิน เพื่อช่วยลดน้ำหนักตัวที่ลงบนข้อเข่า โดยถือไม้เท้าในด้านตรงข้ามกับเข่าที่ปวด แต่ถ้าปวดทั้งสองข้างให้ถือข้างที่ถนัด
3.การบริหารข้อเข่าให้แข็งแรงอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้กล้ามเนื้อรอบๆ ข้อเข่าแข็งแรง ช่วยลดอาการปวด ทำให้ข้อเข่ากระชับ เคลื่อนไหวได้ดี และทรงตัวได้ดีขึ้น
433 , โพส : 0 , Rating : 0 / 0 vote(s)
ขนาดตัวอักษร : เพิ่มขนาด | ลดขนาด
คุณเคยมีอาการเหล่านี้หรือไม่...
- นั่งนานๆ แล้วลุกขึ้น จะมีอาการปวดเข่า
- เดินหรือยืนนานๆ แล้วมีอาการปวดเข่า หรือรู้สึกว่าเข่าอ่อนแรง
- ขึ้นลงบันได แล้วมีอาการเสียวหรือปวดเข่า
- ถ้าเป็นมาก จะมีอาการบวมและร้อนรอบๆ เข่า เวลาเดินหรือยืน เข่าจะโก่งผิดรูป
หากเคย อาจเป็นไปได้ว่าคุณมีอาการของ "ข้อเข่าเสื่อม"
ข้อเข่า ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น ยืน เดิน วิ่ง กระโดด โดยจะรับน้ำหนักของร่างกายทั้งหมด รวมทั้งรับแรงกดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆ เข่าตลอดเวลา เมื่อมีการเคลื่อนไหวข้อเข่า ไม่ว่าจะนั่ง ยืน เดิน ก็จะทำให้เกิดการเสียดสีของกระดูกข้อเข่า
ภายในข้อเข่าประกอบด้วยปลายกระดูก 2 ชิ้นประกบกัน ที่ผิวบนของปลายกระดูกทั้ง 2 ชิ้น จะมีกระดูกอ่อนปกคลุม มีผิวเรียบ และมีน้ำไขข้อบรรจุในช่องว่างระหว่างผิวข้อทั้งสอง เมื่ออายุมากขึ้น กระดูกอ่อนนี้จะค่อยๆ สึกกร่อน ทำให้ไม่มีอะไรมาปกป้องการเสียดสีของกระดูกข้อเข่า จึงเกิดอาการปวด ขยับได้ไม่สะดวก หรือทำให้ข้ออักเสบ บวม มีน้ำในข้อเข่า ต้องไปให้แพทย์เจาะเอาน้ำออก
ปัจจัยที่มีผลต่อข้อเข่าเสื่อม ได้แก่
1.อายุ ส่วนใหญ่เป็นในคนอายุ 40 ปีขึ้นไป แต่อายุน้อยกว่านี้ก็พบได้ ถ้าคนนั้นมีน้ำหนักมาก หรือมีประวัติการใช้ข้อเข่ามาก เช่น นักกีฬา เป็นต้น
2.เพศ ส่วนใหญ่เป็นในผู้หญิงสูงอายุ ซึ่งมีน้ำหนักตัวมากเกินไป และมักทำงานโดยต้องงอเข่าอยู่เป็นประจำ
3.น้ำหนัก ส่วนใหญ่เป็นในคนอ้วนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน ซึ่งสามารถคำนวณคร่าวๆ โดยนำความสูงเป็นเซนติเมตร ลบด้วย 100 (ในผู้ชาย) หรือลบด้วย 110 (ในผู้หญิง) เท่ากับน้ำหนักโดยเฉลี่ย
4.การใช้งาน คนที่มีประวัติการใช้งานของข้อเข่ามาก ๆ หรือมีประวัติการบาดเจ็บบริเวณเข่า โดยเฉพาะนักกีฬา เข่าจะเสื่อมได้เร็วกว่าคนทั่วไป
ข้อแนะนำเมื่อมีอาการปวดเข่า
1.ในระยะแรก ควรหยุดพักการใช้ข้อเข่าไว้ก่อน ไม่ควรให้เข่าอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนานๆ อย่าเพิ่งลงน้ำหนักมากในข้างที่ปวด ปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้ใช้เข่าน้อยลง เช่น งดเล่นกีฬา แล้วเปลี่ยนเป็นเดินเร็วหรือขี่จักรยานอยู่กับที่ เป็นต้น
2.อาจใช้ผ้ายืดพันรอบๆ ข้อเข่าให้กระชับ จะช่วยลดการเสียดสีของข้อเข่าได้
3.ประคบด้วยความเย็นหรือความร้อนบริเวณที่ปวดประมาณ 10 - 15 นาที พร้อมกับขยับข้อเข่าเบาๆ อาจใช้ครีมนวดแก้ปวดร่วมด้วย แต่อย่านวดแรงเพราะจะทำให้กล้ามเนื้อฟกช้ำมากขึ้น การประคบร้อนอาจใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน หรือกระเป๋าไฟฟ้า ส่วนการประคบเย็นอาจใช้ผ้าห่อน้ำแข็ง หรือเจลเย็น (cold pack)
4.รับประทานยาบรรเทาอาการปวด เช่น พาราเซตามอล ยาลดการอักเสบ ยาคลายกล้ามเนื้อ
5.การนอนพักผ่อนช่วยลดอาการปวดได้ แต่ต้องไม่มากเกินไป เนื่องจากการนอนนานๆ จะทำให้กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ยได้
6.เมื่ออาการปวดเข่าทุเลาแล้ว ให้เริ่มบริหารข้อเข่าอย่างสม่ำเสมอ ในตอนเช้าและก่อนนอน
7.ถ้าอาการปวดไม่ดีขึ้นใน 2 - 3 วัน หรือมีอาการปวดมากขึ้น ควรปรึกษาศัลยแพทย์กระดูกและข้อ
หลักปฏิบัติสำหรับผู้ที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมหรือป้องกันข้อเข่าเสื่อมเร็วกว่าที่ควร
1.ลดน้ำหนักตัวในกรณีที่อ้วน หรือระวังไม่ให้น้ำหนักตัวมากเกินไป เพื่อให้เข่ารับน้ำหนักน้อยลง เข่าก็จะเสื่อมช้าลงด้วย
2.หลีกเลี่ยงการใช้เข่าในท่าที่มีการกดของกระดูกภายในเข่ามาก ๆ ได้แก่
- หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งในท่าเดียวนานๆ เช่น นั่งซักผ้า ถ้าจำเป็นควรขยับเปลี่ยนท่า หรือเหยียด – งอข้อเข่าบ่อยๆ
- ควรนั่งบนเก้าอี้สูงระดับเข่า ซึ่งเมื่อนั่งห้อยขาแล้ว ฝ่าเท้าจะวางราบกับพื้นพอดี ไม่ควรนั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่งยองๆ หรือนั่งราบบนพื้น เพราะจะทำให้ผิวข้อเข่าเสื่อมเร็วมากขึ้น
- หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได การคลาน การยกของหนัก
- นอนบนเตียงซึ่งมีความสูงระดับเข่า เมื่อนั่งห้อยขาที่ขอบเตียงแล้ว ฝ่าเท้าจะวางราบกับพื้นพอดี ไม่ควรนอนราบบนพื้น เพราะต้องงอเข่าเวลาจะนอนหรือลุกขึ้น ทำให้ผิวข้อเข่าเสียดสีกันมาก
- ห้องน้ำควรมีโถนั่งชักโครก หรือใช้เก้าอี้ที่มีรูตรงกลางวางไว้เหนือคอ น และควรทำที่จับยึดบริเวณด้านข้างโถนั่ง เพื่อช่วยพยุงตัวเวลาลุกนั่ง การนั่งยองๆ เหนือคอ น จะทำให้ผิวข้อเข่าเสียดสีกันมาก และเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงขาถูกกดทับ ทำให้เลือดไปเลี้ยงขาได้ไม่ดี
- การยืน ควรยืนตรง ขากางออกเล็กน้อย ทิ้งน้ำหนักตัวลงบนขาทั้งสองข้างเท่าๆ กัน ไม่ควรยืนเอียงลงน้ำหนักบนขาข้างใดข้างหนึ่ง เพราะจะทำให้เข่าที่รับน้ำหนักมากกว่าเกิดอาการปวดได้
- ควรเดินบนพื้นราบ ไม่ควรเดินบนพื้นที่ไม่เสมอกัน เช่น บันได ทางลาดเอียงที่ชันมาก หรือทางเดินที่ขรุขระ เพราะทำให้น้ำหนักตัวลงไปที่เข่าเพิ่มมากขึ้น และอาจจะหกล้มได้ง่าย
- ควรใส่รองเท้าส้นเตี้ย สูงไม่เกิน 1 นิ้ว หรือแบบไม่มีส้น พื้นรองเท้านุ่มพอสมควร และกระชับพอดี ไม่หลวมหรือคับเกินไป
- ผู้ที่มีอาการปวดมากหรือมีข้อเข่าโก่งผิดรูป ควรใช้ไม้เท้าช่วยในการยืนหรือเดิน เพื่อช่วยลดน้ำหนักตัวที่ลงบนข้อเข่า โดยถือไม้เท้าในด้านตรงข้ามกับเข่าที่ปวด แต่ถ้าปวดทั้งสองข้างให้ถือข้างที่ถนัด
3.การบริหารข้อเข่าให้แข็งแรงอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้กล้ามเนื้อรอบๆ ข้อเข่าแข็งแรง ช่วยลดอาการปวด ทำให้ข้อเข่ากระชับ เคลื่อนไหวได้ดี และทรงตัวได้ดีขึ้น
433 0 0 0
[ ค้นหาเว็บบอร์ดทุกโรงเรียน แวะไปล่างสุดโฮมเพจ Dek-D ]
เกร็ดความรู้ต่างๆจร้า ตอนที่ 16 : ปวดเข่าจากข้อเข่าเสื่อม , ผู้เข้าชมตอนนี้ : คุณเคยมีอาการเหล่านี้หรือไม่...
- นั่งนานๆ แล้วลุกขึ้น จะมีอาการปวดเข่า
- เดินหรือยืนนานๆ แล้วมีอาการปวดเข่า หรือรู้สึกว่าเข่าอ่อนแรง
- ขึ้นลงบันได แล้วมีอาการเสียวหรือปวดเข่า
- ถ้าเป็นมาก จะมีอาการบวมและร้อนรอบๆ เข่า เวลาเดินหรือยืน เข่าจะโก่งผิดรูป
หากเคย อาจเป็นไปได้ว่าคุณมีอาการของ "ข้อเข่าเสื่อม"
ข้อเข่า ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น ยืน เดิน วิ่ง กระโดด โดยจะรับน้ำหนักของร่างกายทั้งหมด รวมทั้งรับแรงกดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆ เข่าตลอดเวลา เมื่อมีการเคลื่อนไหวข้อเข่า ไม่ว่าจะนั่ง ยืน เดิน ก็จะทำให้เกิดการเสียดสีของกระดูกข้อเข่า
ภายในข้อเข่าประกอบด้วยปลายกระดูก 2 ชิ้นประกบกัน ที่ผิวบนของปลายกระดูกทั้ง 2 ชิ้น จะมีกระดูกอ่อนปกคลุม มีผิวเรียบ และมีน้ำไขข้อบรรจุในช่องว่างระหว่างผิวข้อทั้งสอง เมื่ออายุมากขึ้น กระดูกอ่อนนี้จะค่อยๆ สึกกร่อน ทำให้ไม่มีอะไรมาปกป้องการเสียดสีของกระดูกข้อเข่า จึงเกิดอาการปวด ขยับได้ไม่สะดวก หรือทำให้ข้ออักเสบ บวม มีน้ำในข้อเข่า ต้องไปให้แพทย์เจาะเอาน้ำออก
ปัจจัยที่มีผลต่อข้อเข่าเสื่อม ได้แก่
1.อายุ ส่วนใหญ่เป็นในคนอายุ 40 ปีขึ้นไป แต่อายุน้อยกว่านี้ก็พบได้ ถ้าคนนั้นมีน้ำหนักมาก หรือมีประวัติการใช้ข้อเข่ามาก เช่น นักกีฬา เป็นต้น
2.เพศ ส่วนใหญ่เป็นในผู้หญิงสูงอายุ ซึ่งมีน้ำหนักตัวมากเกินไป และมักทำงานโดยต้องงอเข่าอยู่เป็นประจำ
3.น้ำหนัก ส่วนใหญ่เป็นในคนอ้วนที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน ซึ่งสามารถคำนวณคร่าวๆ โดยนำความสูงเป็นเซนติเมตร ลบด้วย 100 (ในผู้ชาย) หรือลบด้วย 110 (ในผู้หญิง) เท่ากับน้ำหนักโดยเฉลี่ย
4.การใช้งาน คนที่มีประวัติการใช้งานของข้อเข่ามาก ๆ หรือมีประวัติการบาดเจ็บบริเวณเข่า โดยเฉพาะนักกีฬา เข่าจะเสื่อมได้เร็วกว่าคนทั่วไป
ข้อแนะนำเมื่อมีอาการปวดเข่า
1.ในระยะแรก ควรหยุดพักการใช้ข้อเข่าไว้ก่อน ไม่ควรให้เข่าอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนานๆ อย่าเพิ่งลงน้ำหนักมากในข้างที่ปวด ปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้ใช้เข่าน้อยลง เช่น งดเล่นกีฬา แล้วเปลี่ยนเป็นเดินเร็วหรือขี่จักรยานอยู่กับที่ เป็นต้น
2.อาจใช้ผ้ายืดพันรอบๆ ข้อเข่าให้กระชับ จะช่วยลดการเสียดสีของข้อเข่าได้
3.ประคบด้วยความเย็นหรือความร้อนบริเวณที่ปวดประมาณ 10 - 15 นาที พร้อมกับขยับข้อเข่าเบาๆ อาจใช้ครีมนวดแก้ปวดร่วมด้วย แต่อย่านวดแรงเพราะจะทำให้กล้ามเนื้อฟกช้ำมากขึ้น การประคบร้อนอาจใช้ผ้าขนหนูชุบน้ำอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน หรือกระเป๋าไฟฟ้า ส่วนการประคบเย็นอาจใช้ผ้าห่อน้ำแข็ง หรือเจลเย็น (cold pack)
4.รับประทานยาบรรเทาอาการปวด เช่น พาราเซตามอล ยาลดการอักเสบ ยาคลายกล้ามเนื้อ
5.การนอนพักผ่อนช่วยลดอาการปวดได้ แต่ต้องไม่มากเกินไป เนื่องจากการนอนนานๆ จะทำให้กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ยได้
6.เมื่ออาการปวดเข่าทุเลาแล้ว ให้เริ่มบริหารข้อเข่าอย่างสม่ำเสมอ ในตอนเช้าและก่อนนอน
7.ถ้าอาการปวดไม่ดีขึ้นใน 2 - 3 วัน หรือมีอาการปวดมากขึ้น ควรปรึกษาศัลยแพทย์กระดูกและข้อ
หลักปฏิบัติสำหรับผู้ที่มีอาการข้อเข่าเสื่อมหรือป้องกันข้อเข่าเสื่อมเร็วกว่าที่ควร
1.ลดน้ำหนักตัวในกรณีที่อ้วน หรือระวังไม่ให้น้ำหนักตัวมากเกินไป เพื่อให้เข่ารับน้ำหนักน้อยลง เข่าก็จะเสื่อมช้าลงด้วย
2.หลีกเลี่ยงการใช้เข่าในท่าที่มีการกดของกระดูกภายในเข่ามาก ๆ ได้แก่
- หลีกเลี่ยงการยืนหรือนั่งในท่าเดียวนานๆ เช่น นั่งซักผ้า ถ้าจำเป็นควรขยับเปลี่ยนท่า หรือเหยียด – งอข้อเข่าบ่อยๆ
- ควรนั่งบนเก้าอี้สูงระดับเข่า ซึ่งเมื่อนั่งห้อยขาแล้ว ฝ่าเท้าจะวางราบกับพื้นพอดี ไม่ควรนั่งพับเพียบ นั่งขัดสมาธิ นั่งคุกเข่า นั่งยองๆ หรือนั่งราบบนพื้น เพราะจะทำให้ผิวข้อเข่าเสื่อมเร็วมากขึ้น
- หลีกเลี่ยงการขึ้นลงบันได การคลาน การยกของหนัก
- นอนบนเตียงซึ่งมีความสูงระดับเข่า เมื่อนั่งห้อยขาที่ขอบเตียงแล้ว ฝ่าเท้าจะวางราบกับพื้นพอดี ไม่ควรนอนราบบนพื้น เพราะต้องงอเข่าเวลาจะนอนหรือลุกขึ้น ทำให้ผิวข้อเข่าเสียดสีกันมาก
- ห้องน้ำควรมีโถนั่งชักโครก หรือใช้เก้าอี้ที่มีรูตรงกลางวางไว้เหนือคอ น และควรทำที่จับยึดบริเวณด้านข้างโถนั่ง เพื่อช่วยพยุงตัวเวลาลุกนั่ง การนั่งยองๆ เหนือคอ น จะทำให้ผิวข้อเข่าเสียดสีกันมาก และเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงขาถูกกดทับ ทำให้เลือดไปเลี้ยงขาได้ไม่ดี
- การยืน ควรยืนตรง ขากางออกเล็กน้อย ทิ้งน้ำหนักตัวลงบนขาทั้งสองข้างเท่าๆ กัน ไม่ควรยืนเอียงลงน้ำหนักบนขาข้างใดข้างหนึ่ง เพราะจะทำให้เข่าที่รับน้ำหนักมากกว่าเกิดอาการปวดได้
- ควรเดินบนพื้นราบ ไม่ควรเดินบนพื้นที่ไม่เสมอกัน เช่น บันได ทางลาดเอียงที่ชันมาก หรือทางเดินที่ขรุขระ เพราะทำให้น้ำหนักตัวลงไปที่เข่าเพิ่มมากขึ้น และอาจจะหกล้มได้ง่าย
- ควรใส่รองเท้าส้นเตี้ย สูงไม่เกิน 1 นิ้ว หรือแบบไม่มีส้น พื้นรองเท้านุ่มพอสมควร และกระชับพอดี ไม่หลวมหรือคับเกินไป
- ผู้ที่มีอาการปวดมากหรือมีข้อเข่าโก่งผิดรูป ควรใช้ไม้เท้าช่วยในการยืนหรือเดิน เพื่อช่วยลดน้ำหนักตัวที่ลงบนข้อเข่า โดยถือไม้เท้าในด้านตรงข้ามกับเข่าที่ปวด แต่ถ้าปวดทั้งสองข้างให้ถือข้างที่ถนัด
3.การบริหารข้อเข่าให้แข็งแรงอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยให้กล้ามเนื้อรอบๆ ข้อเข่าแข็งแรง ช่วยลดอาการปวด ทำให้ข้อเข่ากระชับ เคลื่อนไหวได้ดี และทรงตัวได้ดีขึ้น
ผมไปเจอมาครับ